064-645-5091    จันทร์ – อาทิตย์: 9.00 -17.00 , Monday – Sunday: 9:00 AM - 5:00 PM

ผลกระทบและแนวทางบำบัดยาเสพติดสำหรับผู้ติดยาเสพติดขณะตั้งครรภ์

IMG-BLOG
23 February 2025

ผลกระทบและแนวทางบำบัดยาเสพติดสำหรับผู้ติดยาเสพติดขณะตั้งครรภ์


คุณแม่ควรมีความรู้และเรียนรู้วิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับชีวิตน้อยๆในครรภ์ได้อย่างไร


ขึ้นชื่อว่าสารเสพติด แน่นอนว่าย่อมก่อผลเสียต่อร่างกายทั้งตัวของผู้เสพเองและผู้คนรอบข้าง จะเห็นได้จากเหตุการณ์ตามหน้าหนังสือพิมพ์ และสื่อต่างๆ ปัจจุบันพบว่ามีการเสพสารเสพติดมากขึ้น ในผู้ที่มีปัญหาทางครอบครัว มีปัญหาการเข้าสังคม มีปัญหาการเรียน และยิ่งถ้าหากบุคคลเหล่านี้มีการเสพสารเสพติดในระยะตั้งครรภ์ จะส่งผลกระทบต่อทั้งตัวมารดาและยังส่งผลต่อทารกในครรภ์ ทั้งในแง่การเจริญเติบโต ปัญหาพัฒนาการและพฤติกรรมของทารก  ในที่นี้เราจะกล่าวถึงสุภาพสตรีที่ติดสารเสพติด และอยู่ในช่วงตั้งครรภ์ ซึ่งมีอันตรายมากมายที่ถาโถมใส่ทารกในครรภ์ที่มากจนคุณแม่อาจจะนึกไม่ถึง  ทั้งนี้คุณแม่ควรมีความรู้และเรียนรู้วิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับชีวิตน้อยๆในครรภ์ได้อย่างไร  


ยกตัวอย่างสิ่งเสพติดยอดฮิต 3 อันดับต้นๆ ที่พบอัตราการเสพมากที่สุด ดังนี้


1. บุหรี่ สารนิโคติน ควันบุหรี่ รวมถึงสารต่างๆที่อยู่ในบุหรี่ จะมีผลต่อสารสื่อประสาทและการหดตัวของหลอดเลือด ส่งผลให้เลือดผ่านรกน้อยลง ทารกจึงได้รับอาหารและออกซิเจนไม่เพียงพอ มีผลให้น้ำหนักแรกเกิดน้อย ขาดสารอาหารในระยะตั้งครรภ์ ส่งผลต่อการพัฒนาและเจริญเติบโตของทารก และเพิ่มอัตราหารตายในวัยทารก นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดปัญหาพัฒนาการและพฤติกรรม เช่น เชาว์ปัญญาบกพร่อง มีปัญหาการเรียน สมาธิสั้น ก้าวร้าว ตลอดจนมีปัญหาด้านการเข้าสังคมต่อไป

นอกจากจะมีผลกระทบต่อทารกแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อคุณแม่เองอีกด้วย คือ ทำให้มีอัตราการเสี่ยงสูงต่อการเป็น “โรคหลอดเลือดอุดตัน” เพิ่มขึ้น หรือเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ที่พบบ่อยคือ “หลอดลมอักเสบ” ซึ่งก็มีผลต่อการตั้งครรภ์ตามมาอีกด้วย
 
2. แอลกอฮอล์ (เหล้า เบียร์ ไวน์ หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอร์ เป็นส่วนประกอบ) ผลกระทบของแอลกอฮอล์ต่อทารกในครรภ์ พบเมื่อคุณแม่ดื่มแอลกอฮอล์ในช่วงปฏิสนธิหรือในช่วง 3 เดือนแรก ความรุนแรงขึ้นจะอยู่กับปริมาณแอลกอฮอล์ที่ดื่ม หากดื่มในปริมาณมากจะส่งผลให้ทารกอาจมีลักษณะของโรคที่เกิดจากมารดาที่ดื่มแอลกอฮอล์ หรือทางการแพทย์เรียกว่า Fetal alcohol syndrome (FAS) ซึ่งมีลักษณะทางร่างกายที่ผิดปกติ คือ ช่องตาสั้น , ริมฝีปากบนยาวและบาง , จมูกแบน , ปลายจมูกเชิดขึ้น เป็นต้น


อีกทั้งแอลกอฮอล์ยังส่งผลทำลายของเซลล์ประสาท ทำให้ทารกมีการเจริญเติบโตบกพร่อง น้ำหนักแรกเกิดน้อย และมีอัตราการเพิ่มน้ำหนักหลังเกิดน้อย มีศีรษะเล็ก อีกทั้งยังส่งผลต่อพัฒนาการของสติปัญญาก็มีความบกพร่อง มีปัญหาด้านความจำ การเคลื่อนไหวผิดปกติ มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคทางจิตเวช เช่น ภาวะวิตกกังวล  มีภาวะซึมเศร้า พฤติกรรมอันธพาล และมีปัญหาพฤติกรรมอื่นๆตามมา เช่น อาการซุกซนไม่อยู่นิ่ง และสมาธิสั้น หรือในรายที่รุนแรงมากอาจอันตรายถึงขั้นแท้งบุตร และเสียชีวิตในครรภ์ขณะคลอดได้
แอมเฟตามีน


3. กลุ่มแอมเฟตามีน เช่น  ยาไอซ์  ยาอี เป็นต้น เมื่อคุณแม่ใช้ขณะตั้งครรภ์จะส่งผลให้ทารกมีน้ำหนักแรกเกิดน้อย มีความผิดปกติของหัวใจแต่กำเนิด ภาวะเลือดออกในสมอง ภาวะสมองตาย ทำให้มีการทำลายเซลล์ประสาท เส้นรอบศีรษะมีขนาดเล็ก ซึ่งมีผลต่อสมาธิ ความจำ และมีผลทำให้เด็กมีปัญหาพฤติกรรมในระยะยาวอีกด้วย

แนวทางการป้องกันที่ดีที่สุด

คือ หลีกเลี่ยงการเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับสิ่งเสพติดทุกชนิด ไม่ว่าคุณจะตั้งครรภ์หรือไม่ก็ตาม เพราะผลกระทบที่ตามมาเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ยาก ส่วนในรายที่ตั้งครรภ์แล้ว และยังไม่เลิกหรือเพิ่งจะเลิกใช้สารเสพติด ก็ต้องระมัดระวังทารกในครรภ์เป็นพิเศษ โดยระหว่างที่ตั้งครรภ์ ควร....

                -   หมั่นไปพบสูติแพทย์เพื่อติดตามผลของพัฒนาการทารกในครรภ์ตามนัดอย่างสม่ำเสมอ
                -   ปฏิบัติตามคำแนะนำของสูติแพทย์อย่างเคร่งครัด
                -   งด ละ เลิก สิ่งเสพติดทุกชนิดอย่างเด็ดขาด
               -   หากคนในครอบครัวสูบบุหรี่ ควรพูดจาขอความร่วมมือให้ไปสูบบุหรี่

ภายนอกบ้าน เพราะควันบุหรี่มีสารพิษที่เรียกว่า “ทาร์” ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อทารกในครรภ์และว่าที่คุณแม่ รวมถึงสมาชิกในครอบครัวมากกว่าผู้ที่สูบเองเสียเอง

เมื่อคลอดแล้วก็ไม่ควรละเลย ควรพาทารกไปพบกุมารแพทย์เพื่อเฝ้าระวัง คัดกรอง ประเมินพัฒนาการและพฤติกรรมเป็นระยะ เพื่อหาความผิดปกติที่พบได้บ่อย เช่น ปัญหาด้านการมองเห็น การได้ยินบกพร่อง เพื่อให้การช่วยเหลือ กระตุ้นพัฒนาการโดยเร็วเพื่อลดปัญหาทางด้านการเรียนรู้และปัญหาสังคมที่จะตามมา


นอกจากทารกที่ได้รับผลกระทบจากคุณแม่ที่เสพยาแล้ว คุณแม่ที่เสพยาในขณะตั้งครรภ์ก็จะเกิดอันตรายหลายอย่างด้วยเช่นกัน ทำให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคต่างๆ ขณะตั้งครรภ์มากกว่าคนทั่วไป อีกทั้งหลังคลอดยังพบภาวะตกเลือดอย่างรุนแรงและอาจทำให้เสียชีวิตได้ จึงอยากฝากย้ำเตือนกลุ่มผู้เสพยาเสพติด บุหรี่ หรือดื่มสุรา หากพบว่าตนเองตั้งครรภ์ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของทารกในครรภ์และความปลอดภัยของตนเองด้วย เพราะการดูแลสุขภาพในระยะตั้งครรภ์เป็นสิ่งสำคัญอย่างมาก ควรไปพบแพทย์เพื่อฝากครรภ์ และปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์อย่างเคร่งครัด ควรหยุดเสพยา บุหรี่ และดื่มสุราในขณะตั้งครรภ์ โดยสามารถขอรับคำปรึกษาหรือเข้ารับการบำบัดยาเสพติด หรือหาวิธีเลิกเหล้า วิธีเลิกยาเสพติดได้ที่สถานบำบัดยาเสพติดและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด Day One Rehabilitation Center ได้ตลอด 24 ชม เพื่อให้สุขภาพของคุณแม่และทารกในครรภ์ปลอดภัย สุขภาพแข็งแรงอย่างดีที่สุด
 

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
99/1 หมู่ 6 ตำบล ศรีจุฬา อำเภอ เมืองนครนายก จังหวัด นครนายก 26000
064-645-5091
[email protected]
จันทร์ – อาทิตย์: 9.00 -17.00

 

บทความล่าสุด

บำบัดยาเสพติดแบบองค์รวม (Holistic Care): วิธีเลิกยาเสพติดได้อย่างยั่งยืน
วิธีเลิกยาเสพติด ไม่ใช่แค่ตัดขาด แต่คือการเยียวยาทั้งหมด ด้วยพลังของการบำบัดแบบองค์รวม
25 March 2025
แนะนำวิธีเลิกยาเสพติด เพื่อช่วยคนในครอบครัวที่คุณรักอย่างเข้าใจและได้ผล
สร้างความเข้าใจ ความอดทนและแนวทางที่ถูกต้องสู่วิธีเลิกยาเสพติดอย่างยั่งยืน
17 February 2025
“เฮโรอีน” วงจรการเสพติดและผลกระทบต่อตนเอง
สุขชั่วคราว อันตรายยาวนาน ศูนย์บำบัดยาเสพติด DAY ONE พารู้จักผลกระทบจากเฮโรอีนที่ไม่น่าเสี่ยง
22 February 2025
“กระท่อม” ไม่ใช่แค่สมุนไพร แต่เป็นยาเสพติด
ทำความเข้าใจผลกระทบของกระท่อมที่มีผลต่อสุขภาพ
08 March 2025
ความจริงเบื้องหลังสารเสพติดแบบน้ำ ที่เรียกว่า “Happy Water”
รู้ทันภัย 'Happy Water': สารเสพติดผสมที่อาจคร่าชีวิต
22 February 2025
10 สาเหตุหลักที่ทำให้เลิกสารเสพติดไม่สำเร็จ
แนะนำวิธีเลิกยาเสพติดอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อชีวิตใหม่ที่ปลอดภัยและมีความสุข
22 February 2025
อายาวัสกา สารเปิดจิต ที่เสพติดได้
อายาวัสกา เป็นสารที่มีฤทธิ์ทางจิตประสาท ส่งผลข้างเคียงทั้งทางร่างกายและจิตใจ หากพบหรือเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับสารนี้ ควรได้รับการตรวจประเมิน ปรึกษา หรือรับการบำบัดจากศูนย์บำบัดยาเสพติด
22 February 2025
Ketamine จากยาสลบม้า มาเป็นการ "ดมเค"
เคตามีนยาเสพติดที่ส่งผลร้ายแรงต่อร่างกายและจิตใจ ผู้เสพควรปรึกษาจิตแพทย์หรือรับการรักษาที่ศูนย์บำบัดยาเสพติด เพื่อรับยาที่ช่วยลดความอยากยาเสพติด ยาปรับอารมณ์ ทำให้การเลิกเคตามีนง่ายขึ้น
22 February 2025
พลังแห่งดนตรี ดนตรีบำบัดสำหรับผู้ติดยาเสพติด
ดนตรีบำบัด เครื่องมือในการฟื้นฟูผู้ป่วยติดสารเสพติด โดย ศูนย์บำบัดยาเสพติด
22 February 2025
ติดสารเสพติดเพราะโรคสมาธิสั้นได้อย่างไร
คนเป็นโรคสมาธิสั้น จะมีอาการชอบความตื่นเต้น รอคอยไม่ค่อยได้ ควบคุมความต้องการของตัวเองได้ยาก ความอดทนน้อย ความคุมอารมณ์ไม่ค่อยได้ ซึ่งเป็นความเสี่ยงทำให้ติดสารเสพติดเกือบทุกชนิดและติดการพนัน
22 February 2025
GHB จีเอชบี (GHB หรือ gamma-hydroxybutyric acid) คืออะไร
GHB อันตรายแค่ไหน พร้อมวิธีป้องกันตัวเองจาก GHB
22 February 2025
Gaslighting นี้เราผิดจริงหรือแค่โดนปั่นหัว!
ทำความรู้จักและพฤติกรรมแบบไหนเรียกว่า Gaslighting
22 February 2025
แก๊สหัวเราะกับความสนุกชั่วคราว
แก๊สหัวเราะคืออะไรและอันตรายที่จะเกิดขึ้นต่อร่างกายและสุขภาพจิต
22 February 2025
วันป้องกันการฆ่าตัวตายโลก (World Suicide Prevention Day)
ความรู้เกี่ยวกับวิธีสังเกตอาการผิดปกติเพื่อช่วยลดความสูญเสียของผู้คนจากการฆ่าตัวตาย
22 February 2025
มารู้จักกับ “Panic Disorder”
สังเกตอาการและปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคแพนิค” (Panic Disorder)
22 February 2025
ภาวะการปรับตัวผิดปกติ
ภาวะการปรับตัวผิดปกติ มักเกิดขึ้นกับบุคคลที่มีปัญหาในการรับมือกับความเครียด หรือเหตุการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันและส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจ ทำให้บุคคลนั้นไม่สามารถปรับตัวหรือทำใจยอมรับได้
22 February 2025
นโยบายกัญชาทางการแพทย์หรือกัญชาเสรี ?
กัญชาทางการแพทย์หรือกัญชาเสรี
23 February 2025
นโยบายเกี่ยวกับกัญชาเสรี
นโยบายที่เกี่ยวข้องกับกัญชาและยาเสพติดของแต่ละพรรคนั้นมีทิศทางอย่างไรต่อไปถ้าได้เป็นรัฐบาล
23 February 2025
แค่นิสัย หรือ บุคลิกภาพผิดปกติ?
บุคลิกภาพผิดปกติ (Personality Disorder) คือ รูปแบบความคิด ความรู้สึกและพฤติกรรม เกิดความไม่ยืดหยุ่นและการปรับตัวไม่ได้ดี ซึ่งอาจฝังในในจิตใจและก่อให้เกิดปัญหา เช่น ด้านการสร้างสัมพันธภาพกับคนอื่น การปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปไมได้
23 February 2025
ฝึกทักษะชีวิต เพื่อบำบัดยาเสพติด หรือป้องกันการติดยาเสพติด
ปรับสมดุลใหม่ในชีวิต เพื่อห่างไกลจากสารเสพติดที่ศูนย์บำบัดยาเสพติด Day One
23 February 2025
โรคกลัวสังคม กับการบำบัดยาเสพติด
โรคกลัวสังคมมีส่วนทำให้ติดสารเสพติดตามมาได้ โดยเฉพาะสารเสพติดในกลุ่มสารกดประสาท เช่น แอลกอฮอล์ หรือยานอนหลับบางชนิด หรือ สารเสพติดกลุ่มฝิ่น เช่น เฮโรอีน เนื่องจากเมื่อผู้ที่เป็นโรคกลัวสังคมใช้สารเหล่านี้แล้ว สารจะไปกดประสาททำให้ความกลัว ความกังวลลดลง
23 February 2025
โรคเสพติดการพนัน
โรคเสพติดการพนัน เป็นหนึ่งในโรคทางจิตเวช ผู้ที่เป็นโรคนี้จะไม่สามารถบังคับตนเอง จะสนใจหมกมุ่นอยู่กับการพนันเป็นส่วนใหญ่ เมื่อผิดหวังกับผลลัพธ์ที่ได้จะทำให้มีอาการข้างเคียง เช่น อาการซึมเศร้า ดื่มสุรา และอาจรุนแรงถึงขั้นใช้สารเสพติด หรือจะเป็นปัญหาชีวิตในด้านต่าง ๆ
23 February 2025
กัญชาทางการแพทย์กับกัญชาเพื่อเสพ ต่างกันอย่างไร
ถึงแม้กัญชาทางการแพทย์จะมีข้อบ่งชี้ในการรักษาโรคบางโรค แต่ก็ไม่ได้แนะนำใช้เป็นการรักษาลำดับแรก เพราะว่ามีประสิทธิภาพที่ด้อยกว่ายาหลัก การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาควรใช้เพื่อเป็นส่วนเสริม หรือควบรวมกับการรักษาตามมาตรฐาน ไม่สามารถเอามาเป็นการรักษาหลักได้
23 February 2025
วิธีเลิกเหล้าและแนวทางการบำบัด
เลิกเหล้าได้สำเร็จ ด้วยวิธีเลิกเหล้าด้วยตนเองและวิธีเลิกเหล้าโดยพบแพทย์
23 February 2025
ทัศนคติผิด ๆ เกี่ยวกับการใช้ยาเสพติดในกลุ่มวัยรุ่น
แนวทางการบำบัดยาเสพติดในวัยรุ่น
23 February 2025
จะเกิดอะไรขึ้นหลัง 9 มิ.ย. 2565 กฎหมาย "ปลดล็อก" กัญชง กัญชา ออกจากยาเสพติด
ถึงแม้ทางกฎหมายกัญชาจะถูกปลดออกจากยาเสพติด แต่ความจริงคือกัญชายังคงมีฤทธิ์เป็นสารเสพติดให้โทษ มีสารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทหลายชนิด โดยเฉพาะ THC ซึ่งส่งผลเสียทำให้ ระดับเชาวน์ปัญญาลดลง (IQ ต่ำลง) สมองฝ่อ เกิดอาการเสพติด เสี่ยงต่อการเกิดโรคจิต โรคไบโพลาร์ โรคหัวใจและหลอดเลือด โดยเฉพาะในเด็กและวัยรุ่น สตรีตั้งครรภ์และให้นมบุตร
23 February 2025
ผลกระทบและแนวทางบำบัดยาเสพติดสำหรับผู้ติดยาเสพติดขณะตั้งครรภ์
คุณแม่ควรมีความรู้และเรียนรู้วิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับชีวิตน้อยๆในครรภ์ได้อย่างไร
23 February 2025
ภาวะแทรกซ้อนระหว่างบำบัดยาเสพติด
วิธีจัดการกับอาการอยากยา เพื่อได้รับการบำบัดยาเสพติดอย่างถูกต้อง
23 February 2025
ความแตกต่างของการบำบัดรูปแบบชุมชนบำบัด (Therapeutic community) และการบำบัดเฉพาะบุคคล (Individual program)
ชุมชนบำบัด หรือ Therapeutic Community  (T.C.) เป็นการบำบัดรักษาที่จำลองรูปแบบการดำรงชีวิตในสังคม เพื่อให้ผู้เข้ารับการบำบัดได้ใช้ชีวิตโดยปราศจากสารเสพติด รับผิดชอบหน้าที่ในชีวิตประจำวัน ปรับตัวอยู่ร่วมกับผู้อื่น และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของสังคม โดยเริ่มตั้งแต่การปรับพฤติกรรม ความสามารถ แนวความคิด และประสบการณ์ของแต่ละบุคคล ให้เกิดการเรียนรู้ เกิดความเข้าใจในตัวเอง และเสริมสร้างความมั่นใจ ฝึกฝนสร้างเป็นอุปนิสัยจนสามารถกลับไปใช้ชีวิตปกติได้แบบปกติ โดยที่ไม่ต้องพึ่งพายาเสพติด
23 February 2025
ปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดการกลับไปเสพยาเสพติดซ้ำหลังเข้าบำบัดยาเสพติด
ทำความเข้าใจว่าเพราะเหตุใดทำให้หวนกลับไปใช้ยาเสพติด เพื่อลดการเสพติดซ้ำ
23 February 2025
6 แนวคิดดี ๆ เปลี่ยนมุมมองชีวิตใหม่ หลังเข้าบำบัดยาเสพติด
การปฏิบัติตนสำหรับผู้ที่เข้ารับการบำบัดยาเสพติดแล้ว ให้สามารถลุกขึ้นมาเดินหน้าใหม่
08 March 2025
เทคนิคการเปลี่ยนแปลงตนเองให้เป็นคนใหม่หลังจากออกจากสถานบำบัดยาเสพติด
การปรับทัศนคติที่มีต่อผู้บำบัดยาเสพติด เป็นอีกหนึ่งวิธีที่จะช่วยแก้ไขปัญหายาเสพติดในสังคมไทย
08 March 2025
การเทรดคริปโทเคอร์เรนซี กับความเสี่ยงในการเสพติดการพนัน
งานวิจัยไม่ได้หมายความว่าการเทรดคริปโต เป็นการพนัน แต่พฤติกรรมของเทรดเดอร์เองต่างหากเป็นตัวบ่งชี้ว่ามีพฤติกรรมที่เข้าข่ายติดพนันหรือไม่
08 March 2025
ดูแลผู้ต้องการบำบัดยาเสพติดอย่างไรเมื่อมีอาการอยากยา
การเข้าสถานบำบัดยาเสพติดเพื่อรักษาอาการอยากยาได้อย่างถูกต้อง
08 March 2025
ครอบครัวและความล้มเหลวในการบำบัดยาเสพติด
หลายครั้งที่ครอบครัวกลายเป็นผู้ส่งเสริมพฤติกรรมทางอ้อมให้คงใช้สารเสพติด
08 March 2025
ความรุนแรงของสารเสพติดประเภทยาไอซ์ โคเคน
แนะนำวิธีการบำบัดยาเสพติดและฟื้นฟูผู้ติดยาไอซ์และโคเคน
08 March 2025
พฤติกรรมของผู้ที่เสี่ยงต่อการติดยาเสพติด
วิธีสังเกตอาการผู้กำลังจะติดยาเสพติด รู้เท่าทันก่อนต้องพึ่งศูนย์บำบัดยาเสพติด
08 March 2025
Day One ได้รับรองมาตรฐานสถานพยาบาลประเภทสถานฟื้นฟูสมรรถภาพ (สถานบำบัดยาเสพติด)
สถานบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยยาเสพติด สถานบำบัดยาเสพติด ตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข
08 March 2025
ผลกระทบจากวิธีเลิกยาเสพติดด้วยตนเอง
เลิกยาเสพติดด้วยตนเอง อันตรายกว่าที่คุณคิด
17 March 2025
อาการของผู้ติดยาเสพติด ที่ต้องรับการบำบัดยาเสพติด
โปรแกรมการบำบัดยาเสพติดสำหรับบุคคล สำหรับอาการของผู้ติดเสพติดที่หลากหลาย
08 March 2025
เลิกยาเสพติดที่สถานบำบัดยาเสพติด
เข้าบำบัดยาเสพติด 28 วัน โดยทีมแพทย์ เพิ่มโอกาสสำเร็จในการเลิกยาเสพติด
08 March 2025
ขั้นตอนการเตรียมตัวก่อนเข้าสถานบำบัดยาเสพติด กับ DAY ONE REHABILITATION CENTER
การสังเกตเมื่อไหร่ที่ครอบครัวควรพาผู้ที่ติดยาเสพติดเข้ารับการบำบัดยาเสพติด หากคนในครอบครัวหรือคนที่คุณรักกำลังใช้ยาเสพติดอยู่ คุณควรสังเกตอาการเหล่านั้น และปรึกษา หาทางแก้ไขเพื่อเข้าบำบัดยาเสพติดได้อย่างถูกวิธี
08 March 2025
กฎหมายเบื้องต้นเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษประเภทต่างๆ
ทำความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ เพื่อควบคุมการใช้ยาเสพติดผิดกฎหมาย
08 March 2025
ปลดพืชกระท่อมออกจากยาเสพติดให้โทษ ทำให้ประชาชนสามารถปลูกและขายได้
ข้อควรระมัดระวังทางกฎหมายที่ควรคำนึงถึง หากมีการนำกระท่อมไปใช้ผสมกับสิ่งเสพติดชนิดอื่น
08 March 2025
ควรทำอย่างไรเมื่อมีคนในครอบครัวติดยาเสพติด
การปฏิบัติตัวของญาติหรือผู้ใกล้ชิดผู้ติดยาเสพติด เพื่อช่วยส่งเสริมให้ผู้รับการบำบัดยาเสพติดเข้าสู่การบำบัดรักษาอย่างถูกวิธี
08 March 2025
หลัก 12 ขั้นตอน (Twelve steps) วิธีเลิกเหล้า เลิกสุรา วิธีเลิกยาเสพติด
หลักการ 12 ขั้นตอน ริเริ่มมาจาก บุคคล 2 คนที่ติดสุรามาก่อน พวกเขาร่วมมือกันเลิกสุราและก่อตั้ง กลุ่ม AA (alcoholic anonymous) ขึ้น พร้อมกับคิดค้นหลักการ 12 ขั้นตอนไปสู่การเลิกสุรา ต่อมาหลักการนี่ได้ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายในกลุ่มผู้ติดสุราและยาเสพติด และค้นพบว่าสามารถทำให้ไปสู่การเลิกเสพได้อย่างต่อเนื่อง
22 February 2025
ยาเสพติดรอบตัวที่พบบ่อย
ยาเสพติดชนิดธรรมชาติ เป็นสารที่กลั่น หรือ สกัดได้จากพืชบางชนิดโดยตรง เช่น ฝิ่น โคเคน กัญชา รวมทั้งการนำสารจากพืชเหล่านั้นมาปรุงเป็นอย่างอื่น โดยกรรมวิธีทางเคมี เช่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ซึ่งทำมาจากฝิ่น เป็นต้น
22 February 2025
โรคสมองติดยา สมองติดยาได้อย่างไร
การติดยาเสพติดเป็นกระบวนการต่อเนื่องเกิดขึ้นทีละเล็กทีละน้อยจากการเสพยาเป็นครั้งคราว สู่การเสพที่ถี่ขึ้นจนเสพทุกวันและวันละหลายครั้ง การเสพยาเสพติดเกี่ยวข้องกับสมอง 2 ส่วนคือ สมองส่วนคิด (Cerebral Cortex) และสมองส่วนอยาก (Limbic System)
22 February 2025